Profressor Kriengsak Chareonwongsak : Present Professional Positions

June 2007 – June 2008

Senior Fellow
 Mossavar-Rahmani Center for Business and Government, Kennedy School of Government, Harvard University
  • To engage in in-depth independent research that will work to bring business and government practitioners together for the wise application of this knowledge that will also be transformed into a permanent, published resource.
  • To focus on innovations in public-private partnerships and corporate governance.
  • To participate in Center life through seminars, conferences & student activities

 

June 2007 – May 2008

Visiting Fellow
Oxford Internet Institute, University of Oxford

  • To research and discover Internet’s social impact, and that of related Information and Communication Technologies (ICTs).
  •  To engage in high-quality research, instruction and collaboration, seeking to inform and influence the shaping of research, policy and practice worldwide.
  • To investigate the role of Internet and ICTs in daily life and work, for example, toward democracy, governance, science, education and the shaping of Internet

 

June 2007 – June 2008
 
Associate
Weatherhead Center for International Affairs, Harvard University

  • To conduct research bringing international affairs to align with multilevel collaboration
  • To chair, organize and join seminars organized by the Center and other centers
  • To be a student advisor for the supervision of dissertations.

Profressor Kriengsak Chareonwongsak : Dream and Hope of Bangkok

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

เกิดในครอบครัวของนักธุรกิจ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ เป็นบุตรชายคนโตของนายเอี่ยม เจริญวงศ์ศักดิ์ เป็นบุคคลที่มีใจใฝ่หา ปรารถนาอยากจะเห็น

ประเทศไทย

อยากเห็นคน

กรุงเทพฯ

ได้รับสิ่งดีและมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นมาตั้งแต่ยังเยาว์วัย

จากอิทธิพลชีวิตของคุณพ่อ เอี่ยม เจริญวงศ์ศักดิ์ ในเรื่อง ความซื่อสัตย์ อันเด่นชัด
ได้ถ่ายทอดส่งผ่านมายังบรรดาบุตรธิดา ซึ่งไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า ด้วยความเป็นบุตรคนโตของ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ทำให้ท่านรับเอาลักษณะชีวิตแห่ง ความซื่อสัตย์ นี้มาไว้เป็นหลักหนึ่งในการดำเนินชีวิตอย่างเคร่งครัด จนทำให้ยามเมื่อ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ผู้นี้จะพิจารณาผู้ใดมาร่วมเป็นทีมงานกับ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ลักษณะชีวิตแห่ง ความซื่อสัตย์ นี้ ยังเป็นปัจจัยแรก ๆ ในการคัดเลือกก่อนความรู้ความสามารถด้วยซ้ำ

ความมีน้ำจิตน้ำใจของสำแดงออกเป็นชีวิตผ่านการร่วมออกค่ายอาสาพัฒนาในวัยเรียน ซึ่งสังเกตได้ว่า ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ผู้นี้ มิได้ลงมือทำกิจกรรมนี้เพียงเพราะบรรยากาศ สภาพแวดล้อม หรือบริบทแห่งสังคมเพื่อนฝูงในวัยเรียนที่พาไป เพราะท่านได้ทุ่มเททำกิจกรรมนี้จนได้เป็นถึงประธานชมรมค่ายอาสาพัฒนาของโรงเรียนอัสสัมชัญฯ ในที่สุด อิทธิพลชีวิตเรื่อง ความมีน้ำใจ ที่ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ นี้ ท่านยังได้รับจากอาจารย์ที่ปรึกษาของกลุ่มอัสสัมชัญอาสาพัฒนานามว่า บราเดอร์วิจารณ์ ทรงเสี่ยงชัย ซึ่งท่านได้เล่าไว้ในหนังสือ “เรื่องสนุก กระตุกคิด” ความว่า

…เมื่อไปถึงโรงเรียน ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ และบราเดอร์ต้องพากันปีนข้ามรั้วโรงเรียนเข้าไป เพราะไม่มีใครเปิดประตูรั้วให้ และเนื่องจากไม่ได้วางแผนว่าจะพักค้างคืนล่วงหน้า ผมจึงไม่มีที่นอนพัก บราเดอร์จึงอนุญาตให้ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ เข้าไปพักที่ห้องพักของท่าน โดยที่ท่านอุตส่าห์สละเตียงให้ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นอน ส่วนตัวท่านขอนอนพื้น

ในความรู้สึกของ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ คิดว่าไม่ถูกต้อง ผมต่างหากที่ควรจะเป็นฝ่ายนอนพื้น ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ จึงต่อรองกับท่านปรากฏว่าท่านก็ไม่ยอม โยกโย้กันอยู่ตั้งนาน ในที่สุดผมจึงจำใจต้องนอนเตียง แล้วปล่อยท่านนอนพื้นในคืนนั้น

คืนนั้นผมนอนไม่หลับเพราะไม่สบายใจ แต่ลึก ๆ แล้วผมประทับใจในน้ำใจของท่านมากจริง ๆ แม้ท่านเป็นถึงอาจารย์แต่ยังยินดีเสียสละ ยอมนอนกับพื้นเพื่อให้ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ซึ่งเป็นผู้น้อยกว่า เป็นเพียงนักเรียนของท่าน ได้สิ่งที่ดีกว่า

นับจากวันนั้นผมได้แง่คิดว่า การเสียสละเพื่อคนอื่นเป็นสิ่งที่งดงาม ไม่ใช่เป็นสิ่งที่เสียเกียรติแต่ประการใดเลย และได้แง่คิดที่สำคัญอีกประการหนึ่งว่า ถ้า อาจารย์ สอนเราตามแบบเรียน เราจะจำแบบเรียน จำวิชาที่เรียน มากกว่าจดจำว่าเรียนจากผู้ใด แต่ถ้าอาจารย์ สอนเราด้วยแบบอย่างชีวิต เราจะสำแดงสิ่งที่เรียนรู้ออกมาเป็นชีวิต เช่นเดียวกับชีวิต อาจารย์

….แบบอย่างที่แสดงออกมาจากชีวิตสอนเราได้ดีกว่าคำพูด

หลังจบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญฯ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ จึงไปศึกษาต่อในระดับมัธยมปลาย ณโรงเรียนนิวเบอร์ลิน รัฐวิสคอนสิน สหรัฐอเมริกา

ความหวัง : ที่จะศึกษาอย่างมีเป้าหมาย (ความหวังที่จะเห็นการศึกษาของตนเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ)

ด้วย ความหวัง และปรารถนาจะเห็นตนเองเป็นส่วนหนึ่งใน ความหวัง ของชาวไทย เหมือนเช่นที่คนไทยอีกหลายคนต้องการเห็นประเทศไทยได้มีสภาพเศรษฐกิจโดยรวมดีขึ้น ทำให้ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ที่ได้รับทุนจากรัฐบาลเพื่อศึกษาต่อทางปริญญาตรีนั้น ได้ตัดสินใจทำเรื่องขอปรับสาขาวิชาที่ได้รับทุนจากสาขาวิชา…..มาเป็นด้านเศรษฐศาสตร์ เพราะมี ความหวัง ว่า เมื่อจบออกมาแล้ว สามารถนำความรู้ความสามารถด้านนี้มาทำ ความหวัง ให้แก่ชาติบ้านเมืองได้มากกว่าที่จะเรียนในสาขาที่เพียงแต่ทำให้ผู้เรียนจบมามี ความหวัง เพื่อทำงานหรือมี ความหวัง เงินเดือนมากเท่านั้น ซึ่งท่านก็สามารถชี้แจงให้เหตุผลจนได้ปรับสาขาวิชาจนสำเร็จ และได้รับทุนรัฐบาลเพื่อศึกษาต่อ ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยมอแนช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย ที่นี่ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ได้รับปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง

ความหวัง ที่จุดประกายขึ้นในขณะศึกษาหาความรู้ของ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นั้น เป็นเหตุให้ท่านพิจารณาอย่างรอบคอบ ถึงหนทางในการนำความรู้มาใช้พัฒนาประเทศชาติ ไม่เพียงแต่เฉพาะเพื่อ ความหวัง ของคน กรุงเทพ เท่านั้น แต่เพื่อ ความหวัง ของชาวไทยทั้งประเทศ ด้วยเหตุนี้เอง การศึกษา ของท่านต่อจากนั้น จึงเกี่ยวข้องและมีเป้าหมายเพื่อทำประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างแท้จริง

ต่อมา ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ท่านศึกษาต่อปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) สหรัฐอเมริกา ตามด้วยการศึกษาต่อปริญญาเอก (1981) สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอแนช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย ( โดยทุนมหาวิทยาลัยมอแนช )

การเห็นความสำคัญด้านการศึกษานี้เอง ทำให้ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ แม้ได้รับปริญญาเอกและเป็นถึง ศาสตราจารย์ ดร. แล้วก็ตาม ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ กลับยังคงศึกษาต่อทั้งหลักสูตรในประเทศและต่างประเทศ อาทิ

  • การศึกษาหลังปริญญาเอก (Post Doctoral) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (University of Oxford) ประเทศอังกฤษ
  • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนและการเมือง รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2546-2547 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ (วปม. รุ่นที่ 1)
  • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 8 ปีการศึกษา 2547-2548 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า

ชีวิตของ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ แสดงออกถึง ความหวัง ตั้งใจ และปรารถนาใฝ่หาความรู้อยู่ตลอดเวลา ทั้งจากในรั้วของ สถาบันการศึกษา และจากการดำเนินชีวิต เห็นได้จากที่ชีวิตของท่านเป็นแบบอย่างในการขวนขวายแสวงหาความรู้อย่างไม่ยอมหยุดนิ่ง ทั้งยังมีความหวังที่จะนำความรู้ความสามารถที่ท่านได้ร่ำเรียนมาตลอดชีวิตให้เกิดเป็นรูปธรรมในการมีส่วนนำเสนอความคิด ความรู้ ความตั้งใจ และส่ง ความหวัง นั้นผ่านตัวอักษรเป็นหนังสือและบทความมากมายหลายเล่ม ยิ่งไปกว่านั้น การมี ความหวัง จะเห็นสิ่งดี ความปรารถนาต่อสังคม ต่อประเทศชาติของ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ไม่ได้หยุดอยู่เพียงแค่ชีวิตของท่านเท่านั้น แต่ได้ถ่ายทอดไปยังบุคคลในครอบครัวใกล้ตัว จนสามารถเรียกได้ว่า นี่แหละ ครอบครัวแห่ง ความหวัง แห่งความตั้งใจ อย่างแท้จริง ซึ่งกำลังจะกล่าวต่อจากนี้ไป

Profressor Kriengsak Chareonwongsak : Anything Excellence

* ความแตกต่างอันโดดเด่นระหว่างรางวัลที่หนึ่งกับรางวัลอื่น ๆ นั่นคือ รางวัลที่หนึ่งจะประกอบด้วยสัดส่วนของความเป็นเลิศมากกว่า
* ความเป็นเลิศ คือ การลบริ้วรอยแห่งความผิดพลาด
* ความเป็นเลิศ คือ ที่สุดแห่งคำว่า “ความพยายาม”
* ความเป็นเลิศ คือ ผลสัมฤทธิ์ในบั้นปลายของบุคคลผู้ปรารถนาไปถึงซึ่งความเป็นเลิศ
* ความเป็นเลิศ คือ การไม่ละเลยแม้รอยรั่วเท่าปลายเข็มบนผนังยานอวกาศ เพราะนักบินอวกาศทราบดีว่า
* รอยรั่วเพียงเท่านี้ อาจก่อความสูญเสียมหาศาลได้
* ความเป็นเลิศ คือ 1% สุดท้ายที่คนส่วนใหญ่หลงลืมที่จะทำ